ค้นหาสิ่งที่คุณต้องการ

หรือค้นหาโดย

หัวข้อ

Article
Article

Article

e-Book
e-Book

e-Book

Video
Video

Video

Campaigns
Campaigns

Campaigns

Architecture
กล้องคอมแพค

กล้องคอมแพค

Architecture
DSLRs

DSLRs

Architecture
การถ่ายวีดิโอ

การถ่ายวีดิโอ

Architecture
ภาพดาราศาสตร์

ภาพดาราศาสตร์

Architecture
กล้องมิลเลอร์เลส

กล้องมิลเลอร์เลส

Architecture
ภาพสถาปัตยกรรม

ภาพสถาปัตยกรรม

Architecture
เทคโนโลยีของแคนนอน

เทคโนโลยีของแคนนอน

Architecture
การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

Architecture
การสัมภาษณ์ช่างภาพ

การสัมภาษณ์ช่างภาพ

Architecture
ภาพวิวทิวทัศน์

ภาพวิวทิวทัศน์

Architecture
การถ่ายภาพมาโคร

การถ่ายภาพมาโคร

Architecture
การถ่ายภาพกีฬา

การถ่ายภาพกีฬา

Architecture
การถ่ายภาพท่องเที่ยว

การถ่ายภาพท่องเที่ยว

Architecture
การถ่ายภาพใต้น้ำ

การถ่ายภาพใต้น้ำ

Architecture
แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

Architecture
การถ่ายภาพสตรีท

การถ่ายภาพสตรีท

Architecture
กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

Architecture
เลนส์และอุปกรณ์เสริม

เลนส์และอุปกรณ์เสริม

Architecture
Nature & Wildlife Photography

Nature & Wildlife Photography

Architecture
การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

Architecture
การถ่ายภาพกลางคืน

การถ่ายภาพกลางคืน

Architecture
การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

Architecture
โซลูชั่นการพิมพ์

โซลูชั่นการพิมพ์

Architecture
รีวิวผลิตภัณฑ์

รีวิวผลิตภัณฑ์

Architecture
การถ่ายภาพงานแต่งงาน

การถ่ายภาพงานแต่งงาน

เคล็ดลับและบทเรียน >> เคล็ดลับและบทเรียนทั้งหมด

เพลิดเพลินกับสไตล์การถ่ายภาพแบบเก่า – 5 เหตุผลที่เรายังคงหลงรักการถ่ายภาพแบบดั้งเดิม

2016-09-14
2
2.17 k
ในบทความนี้:

Canon AE-1, FD 50 มม. f/1.8 by Antonin Cosset

รูปถ่ายใบแรกของโลกที่ถ่ายออกมาแล้วประสบความสำเร็จ (บางส่วน) ถ่ายในปี 1816 และนับตั้งแต่นั้นเป็นมา มนุษย์เราก็รู้จักการเก็บภาพช่วงเวลาพิเศษไว้ตลอดกาลบนแผ่นฟิล์ม แต่ขั้นตอนนั้นซับซ้อนและยุ่งยากมาก ซึ่งแตกต่างจากทุกวันนี้ที่แค่แตะหรือกดปุ่มแป๊บเดียวก็ถ่ายภาพได้แล้ว แต่ถึงแม้ว่าการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิทัลจะสะดวกสบาย แต่ไม่ใช่ว่าทุกคนจะหันหลังให้กับกล้องอะนาล็อกเสมอไป

Canon AE-1, FD 50 มม. f/1.8 โดย Antonin Cosset

รูปลักษณ์นั้นสำคัญไฉน

การถ่ายภาพแบบอะนาล็อกนั้นทำให้ภาพถ่ายมีสีสวยและมีไดนามิกเรนจ์ (Dinamic Range) ของรายละเอียดกว้าง ทั้งในส่วนเงามือและแสงสว่าง ซึ่งเป็นสิ่งที่กล้องดิจิทัลพยายามเลียนแบบโดยใช้การปรับแต่งภาพและฟิลเตอร์ เช่นเดียวกับคนรักดนตรีที่ชอบเสียงจากแผ่นเสียงไวนิลมากกว่าเสียงจากแผ่นซีดี ช่างภาพบางคนก็ชอบการถ่ายภาพแบบอะนาล็อกมากกว่าเพราะทำให้ภาพออกมา "เป็นธรรมชาติ" มากกว่า

Canon AE-1, FD 85 มม. f/1.2 โดย Antonin Cosset

ทุกอย่างอยู่ในรายละเอียด

ฟิล์มสามารถบันทึกรายละเอียดที่เล็กที่สุดไว้ในภาพถ่ายได้ในขณะที่เซ็นเซอร์ดิจิทัลจะตอบสนองได้น้อยกว่า หากเป็นฟิล์มแผ่นใหญ่ก็จะให้ความละเอียดภาพสูงกว่าด้วย ซึ่งนี่เป็นเหตุผลว่าทำไมช่างถ่ายภาพภูมิทัศน์มืออาชีพจึงเลือกใช้ฟิล์มขนาด 4x5 นิ้ว คุณสมบัติโทนสีที่หาไม่ค่อยได้ในกล้องดิจิทัลสามารถสร้างขึ้นได้โดใช้การถ่ายภาพแบบอะนาล็อก ซึ่งเกิดจากการที่แร่เงินปฏิกิริยาของต่อแสง ด้วยเหตุนี้ ช่างภาพมืออาชีพจำนวนมากอย่าง April-Lea Hutchinson และ Bahag De Guzman จึงยังคงเลือกถ่ายภาพด้วยกล้องอะนาล็อกแทนกล้องดิจิทัล

Canon AE-1, FD 50 มม. f/1.8 โดย Antonin Cosset

คุุณภาพกับปริมาณ

หนึ่งในข้อโต้แย้งสำคัญ ๆ ในการถ่ายภาพด้วยระบบอะนาล็อกคือมันทำให้คุณเป็นช่างภาพที่เก่งขึ้น เพราะเมื่อคุณต้องปรับค่าแสงและ จัดองค์ประกอบภาพให้สมบูรณ์แบบด้วยมือของตัวเองในแต่ละครั้งที่ลั่นชัตเตอร์ มันจะทำให้คุณเข้าใจกระบวนการถ่ายภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ทุกภาพล้วนแต่เป็นต้นทุน ดังนั้นคุณจะต้องถ่ายภาพให้สวยตั้งแต่ครั้งแรก! หากคุณเป็นคนชอบความสมบูรณ์แบบแล้วละก็ กล้องอะนาล็อกนี่แหละคือคำตอบ

Canon AE-1, FD 50 มม. f/1.4 โดย Antonin Cosset

ฟิล์ม (เกือบ) เป็นอมตะ

ถ้าคุณไม่จงใจทำลายมันละก็ ม้วนฟิล์มที่เก็บรักษาไว้อย่างถูกต้องจะอยู่ได้นานมาก คุณคงเคยได้ยินบ่อย ๆ ว่าช่างภาพต้องสูญเสียผลงานที่ถ่ายมาเป็นเดือน ๆ ไปเพราะการ์ดหน่วยความจำเสีย นี่เป็นข้อพิสูจน์ว่าเทคโนโลยีไม่ได้ดีกว่าเสมอไป

Canon AE-1, FD 50 มม. f/1.4 โดย Antonin Cosset

อะนาล็อกไม่เคยตกเทรนด์

ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีกล้องดิจิตัลจะน่าทึ่งขึ้นเรื่อย ๆ แต่เราไม่ควรมองข้ามความงามของกล้อง SLR แบบเก่า เพราะตัวกล้องจากเมื่อหลายสิบปีที่แล้วผ่านการพิสูจน์แล้วว่ามีความยืดหยุ่นไม่ต่างจากกล้องสมัยใหม่เลย ในขณะที่กล้องดิจิทัลหลายรุ่นผลิตขึ้นมาเพื่อเลียนแบบ่รูปทรงที่สวยงามของกล้องฟิล์มแบบเก่า ในกรณีนี้จึงเป็นไปตามคำกล่าวที่ว่าของยิ่งเก่ายิ่งมีค่า

 

Mona Teo
ประวัติของผู้เขียน
Mona Teo เป็นนักเขียนในสิงคโปร์ที่เชื่อว่าไม่มีอะไรทรงพลังไปกว่าถ้อยคำ (แต่ต้องไม่นับรวมกาแฟ) เธอเป็นนักดำน้ำและนักเดินทางตัวยง ชอบอ่านหนังสือบนคินเดิลระหว่างนั่งเครื่องบิน และมองหาแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบตัว
แบ่งปันภาพถ่ายของคุณใน My Canon Story แล้วร่วมลุ้นโอกาสเผยแพร่ผลงานบนโซเชียลมีเดียของเรา