ค้นหาสิ่งที่คุณต้องการ

หรือค้นหาโดย

หัวข้อ

Article
Article

Article

e-Book
e-Book

e-Book

Video
Video

Video

Campaigns
Campaigns

Campaigns

Architecture
กล้องคอมแพค

กล้องคอมแพค

Architecture
DSLRs

DSLRs

Architecture
การถ่ายวีดิโอ

การถ่ายวีดิโอ

Architecture
ภาพดาราศาสตร์

ภาพดาราศาสตร์

Architecture
กล้องมิลเลอร์เลส

กล้องมิลเลอร์เลส

Architecture
ภาพสถาปัตยกรรม

ภาพสถาปัตยกรรม

Architecture
เทคโนโลยีของแคนนอน

เทคโนโลยีของแคนนอน

Architecture
การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

Architecture
การสัมภาษณ์ช่างภาพ

การสัมภาษณ์ช่างภาพ

Architecture
ภาพวิวทิวทัศน์

ภาพวิวทิวทัศน์

Architecture
การถ่ายภาพมาโคร

การถ่ายภาพมาโคร

Architecture
การถ่ายภาพกีฬา

การถ่ายภาพกีฬา

Architecture
การถ่ายภาพท่องเที่ยว

การถ่ายภาพท่องเที่ยว

Architecture
การถ่ายภาพใต้น้ำ

การถ่ายภาพใต้น้ำ

Architecture
แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

Architecture
การถ่ายภาพสตรีท

การถ่ายภาพสตรีท

Architecture
กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

Architecture
เลนส์และอุปกรณ์เสริม

เลนส์และอุปกรณ์เสริม

Architecture
Nature & Wildlife Photography

Nature & Wildlife Photography

Architecture
การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

Architecture
การถ่ายภาพกลางคืน

การถ่ายภาพกลางคืน

Architecture
การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

Architecture
โซลูชั่นการพิมพ์

โซลูชั่นการพิมพ์

Architecture
รีวิวผลิตภัณฑ์

รีวิวผลิตภัณฑ์

Architecture
การถ่ายภาพงานแต่งงาน

การถ่ายภาพงานแต่งงาน

เคล็ดลับและบทเรียน >> เคล็ดลับและบทเรียนทั้งหมด

การจับภาพเคลื่อนไหวในเฟรมเดียวด้วยการถ่ายภาพแบบต่อเนื่อง

2020-11-19
1
1.69 k
ในบทความนี้:

เช่นเดียวกับทฤษฎีองค์ประกอบภาพและสีในการถ่ายภาพ การเพิ่มความเคลื่อนไหว จะสามารถช่วยให้ภาพของคุณมีความสมจริงมากขึ้นได้คุณสามารถใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำในการจับภาพความเคลื่อนไหวเมื่อคุณถ่ายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว ความเร็วชัตเตอร์สูงจะหยุดสิ่งที่กำลังเคลื่อนไหว นี่คือเทคนิคต่างๆ อย่าง การแพนภาพ – หรือที่ในบทความนี้คือการถ่ายภาพนั่นเอง

 

การถ่ายภาพแบบต่อเนื่องคืออะไร? สำหรับคนทั่วไปนั้น การถ่ายภาพแบบต่อเนื่องหมายถึงการสร้างภาพที่จับภาพเฟรมต่างๆ ของสิ่งที่ถ่ายซึ่งกำลังเคลื่อนไหวและการบีบอัดทุกอย่างให้รวมอยู่ในภาพเดียวกัน สำหรับสไตล์การถ่ายภาพแบบนี้ ช่างภาพจะต้องทำการปรับแต่งและวางเลเยอร์ของเฟรมภาพต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เราจึงขอมอบแนวทางแบบทีละขั้นตอนเพื่อให้คุณได้เอฟเฟ็กต์แบบต่อเนื่องสำหรับแรกของคุณที่ด้านล่าง!

 

ขั้นตอนที่ 1:วางแผนการถ่ายภาพ

เมื่อทำการระดมความคิดเกี่ยวกับการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องภาพแรกของคุณ ให้คุณเริ่มต้นโดยการคิดถึงสิ่งที่เคลื่อนไหวของคุณ สิ่งของดังกล่าวควรจะเป็นรถของเล่น (ตามที่เห็นข้างต้น) ลูกบอลที่กระดอนไปมา คนที่กำลังวิ่งหรือสัตว์ที่กำลังกระโดด?สำหรับการลองในครั้งแรกของคุณ เราแนะนำให้คุณใช้อะไรที่ง่ายๆ ดูก่อน เช่น ลูกบอลที่กลิ้งไปมาหรือสิ่งของที่พลิกไปมาได้

 

สำหรับบทความนี้ เราได้นำเสนอฉากที่มีรถสปอร์ตเปิดประทุนที่กำลัง ‘เหิน’ บนทางลาดเมื่อคุณพร้อมจะก้าวไปสู่ความยากในอีกระดับหนึ่งแล้ว คุณก็จะได้พบกับการเคลื่อนไหวต่างๆ ที่เต็มไปด้วยความสร้างสรรค์ไม่ว่าจะเป็นการวิ่งข้ามสิ่งกีดขวาง ล้อเกวียน การดำน้ำและอื่นๆ อีกมากมาย

 

อุปกรณ์อื่นๆ ที่คุณจำเป็นต้องใช้สำหรับการถ่ายภาพแบบนี้ก็คือขาตั้งกล้องเพื่อป้องกันไม่ให้กล้องถ่ายรูปสั่น ทั้งนี้ คุณควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า คุณได้ถ่ายชุดภาพในองค์ประกอบภาพและเฟรมเดียวกันเพื่อลดการปรับแต่งภาพเพิ่มเติมที่ไม่จำเป็นออกไป

 

ขั้นตอนที่ 2: การวางเฟรมให้กว้างขึ้น

พึงจำไว้ว่า คุณควรวางตำแหน่งกล้องถ่ายรูปของคุณให้ไปข้างหลังเพื่อให้ได้การวางเฟรมที่กว้างขึ้น การทำเช่นนี้จะทำให้คุณสามารถจับภาพความเคลื่อนไหวของสิ่งที่คุณถ่ายรวมถึงป้องกันไม่ให้เฟรมถูกตัดอีกด้วยเราได้ถ่ายฉากโดยให้มีพื้นที่ที่มากกว่าที่ด้านบนเนื่องจากเราคิดว่ารถจะเหินได้สูงกว่าที่เราคาดการไว้เล็กน้อย

 

หากคุณถ่ายฉากที่เป็นการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องซึ่งจำเป็นต้องมีพื้นที่มากกว่า (เช่น การพาราเซลลิงหรือการกระโดดหน้าผา) จะเป็นเรื่องที่มีประโยชน์มากในการใช้เลนส์มุมกว้างกับภาพในลักษณะดังกล่าว

 

ขั้นตอนที่ 3: โหมดของกล้องถ่ายรูป

ใช้โหมดกำหนดเอง (Manual) และความเร็วชัตเตอร์สูงอย่างน้อย 1/2000s (ยิ่งเร็วมากขึ้นก็จะยิ่งดีขึ้น) แต่เรื่องดังกล่าวอาจแตกต่างกันออกไปเนื่องจากขึ้นอยู่กับความเร็วของสิ่งที่เคลื่อนไหวของคุณ สิ่งที่สำคัญมากในที่นี้ก็คือการหยุดภาพที่กำลังเคลื่อนไหวอย่างชัดเจนและการมีเฟรมของสิ่งที่กำลังเคลื่อนไหวที่มากพอเพื่อที่คุณจะได้สามารถวางเลเยอร์และสร้างเอฟเฟ็กต์แบบต่อเนื่องได้ใช้ข้อได้เปรียบของโหมดการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องของกล้องถ่ายรูป  Canon ในการจับชุดภาพที่กำลังเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว

 

ในตัวอย่างของเรา เราได้ถ่ายภาพซีนนี้โดยใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ 1/6400s

 

ขั้นตอนที่ 4: การเลือกฉาก

ตัวอย่างของภาพ GIF ข้างต้นแสดงภาพที่เลือกจำนวน 7 ภาพ คุณอยากจะบีบอัดความเคลื่อนไหวทั้งหมดให้อยู่ภายในภาพเดียว คุณสามารถใช้เฟรมมากกว่านี้ได้ด้วยซ้ำไป แต่ในช่วงแรก การใช้เพียง 6-10 เฟรมก็จะให้ผลลัพธ์ที่ดีมากพอแล้วเนื่องจากคุณใช้ขาตั้งกล้องและโหมดกำหนดเอง (Manual) คุณจะตระหนักได้ว่า เฟรมทั้งหมดมีการเปิดรับแสง การวางเฟรมและองค์ประกอบภาพที่สอดคล้องกัน

 

เคล็ดลับ: คุณสามารถสร้างภาพ GIF ได้ด้วยภาพที่คุณถ่าย!

 

ขั้นตอนที่ 5: การรวมให้เป็นภาพเดียว

ขั้นต่างในการรวมการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องของคุณให้เป็นภาพเดียว:

1. เริ่มต้นโดยการอัปโหลดภาพที่เลือกทั้งหมดของคุณไปยังซอฟต์แวร์การตกแต่งภาพอย่าง Photoshop

2. เลือกภาพทั้งหมดและใช้เอฟเฟ็กต์ ‘ทำให้มืด’ เพื่อดูลำดับ และตรวจสอบให้แน่ใจว่า ทั้งหมดคือเฟรมที่คุณต้องการ

3. ทำให้เลเยอร์แรกของคุณ (เฟรมแรกของรถของคุณ) มองเห็นได้ และนำองค์ประกอบที่ไม่จำเป็นออก เลเยอร์นี้จะเป็นเลเยอร์ฐานของคุณ

4. ทำให้เลเยอรฺที่สองของคุณมองเห็น และใช้เครื่องมือ Lasso ในการเลือกรถคัดลอกบริเวณที่เลือกและวางลงเป็นเลเยอร์ใหม่

5. จากนั้น คุณสามารถลบเลเยอร์ที่สองได้ (ไม่ใช่เลเยอร์ใหม่ที่มีรูปรถที่คัดลอกมา)

6. ทำซ้ำตามขั้นตอนข้างต้นกับเฟรมที่เหลือของคุณก่อนที่จะวางเลเยอร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และบันทึกให้เป็นภาพเดียว

 

ขั้นตอนที่ 6: ภาพที่ได้

แต่นแต๊น! หากคุณปฏิบัติตามขั้นตอนก่อนหน้าอย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ที่คุณได้ก็จะเหมือนกับภาพข้างต้น คุณควรมีภาพที่เป็นการกระทำจำนวนมากซึ่งแสดงความเคลื่อนไหวของสิ่งที่คุณถ่ายภายในภาพเดียว!

การถ่ายภาพแบบต่อเนื่องเป็นคอนเซ็ปต์ที่ทั้งสนุก ง่ายและเอนกประสงค์ซึ่งจะช่วยให้คุณได้สัมผัสประสบการณ์ ต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ และสร้างภาพที่มีอิมแพ็คสูงอันจะเป็นประโยชน์สำหรับพอร์ตโฟลิโอการถ่ายภ่าพของคุณ คุณสามารถผสมผสานการนำเสนอสไตล์นี้ในการถ่ายภาพรูปแบบอื่นๆ ได้ เช่น การถ่ายภาพสัตว์ป่า (เอฟเฟ็กต์แบบต่อเนื่องของม้าที่กำลังวิ่งควบ) การถ่ายภาพกีฬา (การฝึกยิมนาสติก) และอื่นๆ อีกมากมาย!

 

สำหรับบทความที่คล้ายคลึงกัน:

เทคนิคการใช้แฟลชที่มากับกล้อง #5: การสร้างเส้นแสงที่รวดเร็วและมีพลังโดยใช้การซิงค์แบบ Second Curtain
ภาพภูมิทัศน์แบบเทเลโฟโต: ความขัดแย้งระหว่างความนิ่งกับความเคลื่อนไหว
การตั้งค่ากล้องถ่ายรูปสำหรับการถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำสุดเจ๋ง!

แบ่งปันภาพถ่ายของคุณใน My Canon Story แล้วร่วมลุ้นโอกาสเผยแพร่ผลงานบนโซเชียลมีเดียของเรา