ค้นหาสิ่งที่คุณต้องการ

หรือค้นหาโดย

หัวข้อ

Article
Article

Article

e-Book
e-Book

e-Book

Video
Video

Video

Campaigns
Campaigns

Campaigns

Architecture
กล้องคอมแพค

กล้องคอมแพค

Architecture
DSLRs

DSLRs

Architecture
การถ่ายวีดิโอ

การถ่ายวีดิโอ

Architecture
ภาพดาราศาสตร์

ภาพดาราศาสตร์

Architecture
กล้องมิลเลอร์เลส

กล้องมิลเลอร์เลส

Architecture
ภาพสถาปัตยกรรม

ภาพสถาปัตยกรรม

Architecture
เทคโนโลยีของแคนนอน

เทคโนโลยีของแคนนอน

Architecture
การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

Architecture
การสัมภาษณ์ช่างภาพ

การสัมภาษณ์ช่างภาพ

Architecture
ภาพวิวทิวทัศน์

ภาพวิวทิวทัศน์

Architecture
การถ่ายภาพมาโคร

การถ่ายภาพมาโคร

Architecture
การถ่ายภาพกีฬา

การถ่ายภาพกีฬา

Architecture
การถ่ายภาพท่องเที่ยว

การถ่ายภาพท่องเที่ยว

Architecture
การถ่ายภาพใต้น้ำ

การถ่ายภาพใต้น้ำ

Architecture
แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

Architecture
การถ่ายภาพสตรีท

การถ่ายภาพสตรีท

Architecture
กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

Architecture
เลนส์และอุปกรณ์เสริม

เลนส์และอุปกรณ์เสริม

Architecture
Nature & Wildlife Photography

Nature & Wildlife Photography

Architecture
การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

Architecture
การถ่ายภาพกลางคืน

การถ่ายภาพกลางคืน

Architecture
การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

Architecture
โซลูชั่นการพิมพ์

โซลูชั่นการพิมพ์

Architecture
รีวิวผลิตภัณฑ์

รีวิวผลิตภัณฑ์

Architecture
การถ่ายภาพงานแต่งงาน

การถ่ายภาพงานแต่งงาน

เคล็ดลับและบทเรียน >> เคล็ดลับและบทเรียนทั้งหมด

[บทที่ 9] การจัดเฟรมภาพมีผลต่อการถ่ายภาพอย่างไร

2014-06-26
3
7.88 k
ในบทความนี้:

ในบทที่ 9 ผมจะอธิบายถึงผลกระทบของการจัดเฟรมภาพที่มีต่ออารมณ์ที่ถ่ายทอดผ่านภาพถ่ายของคุณ ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่สนใจจะใช้กล้องมิเรอร์เลส หรือเพิ่งซื้อกล้องใหม่ บทความชุดนี้จะมีบทเรียนที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับเทคนิคการถ่ายภาพสวยๆ ด้วยกล้อง EOS M ซึ่งสามารถให้คุณภาพของภาพถ่ายระดับสูง และยังง่ายต่อการใช้งานอีกด้วย เมื่อเรียนรู้เรื่องพื้นฐานเกี่ยวกับกล้องและการถ่ายภาพแล้ว คุณจะสามารถถ่ายภาพตามที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย! (ภาพโดย: Yuji Ogura, เขียนและเรียบเรียงโดย: ฝ่ายบรรณาธิการนิตยสาร Camera Biyori)

 

Q: การจัดเฟรมมีผลต่ออารมณ์ภาพอย่างไร?

A: การจัดเฟรมภาพหมายถึงการกำหนดลักษณะการวางตัวแบบที่อยู่ภายในกรอบภาพ การจัดเฟรมภาพมีด้วยกัน 3 รูปแบบ คือ แนวตั้ง แนวนอน และรูปจตุรัส อัตราส่วนระหว่างความยาวและความกว้างของเฟรมภาพนั้นเรียกว่า “อัตราส่วนภาพ” (Aspect ratio) การจัดเฟรมภาพแต่ละแบบให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันไป คุณจึงควรเลือกลักษณะการจัดเฟรมที่มีความสมดุลเหมาะสมกับตัวแบบของคุณมากที่สุด

การจัดเฟรมภาพ

ในส่วนนี้ เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะการจัดเฟรมภาพทั่วๆ ไป ได้แก่ แนวตั้ง แนวนอน และจตุรัส

การถ่ายภาพแนวนอน = การถือกล้องแนวนอน

ภาพแนวนอนทำให้ความสายตาของคนดูกวาดไปตามแนวของภาพ ง่ายต่อการถ่ายทอดความเรื่องราว ตัวแบบจะไม่ถูกขับเน้นให้โดดเด่นมากนัก และผลภาพที่ออกมามักให้ความรู้สึกที่นิ่งสงบ

การถือกล้องแนวนอน ประคองเลนส์ด้วยฝ่ามือซ้ายเพื่อให้ถือได้มั่นคง

 
 

การถ่ายภาพแนวตั้ง = การถือกล้องแนวตั้ง

ตัวแบบจะดูโดดเด่น สร้างความรู้สึกเชิงนามธรรมอันถ่ายทอดจุดมุ่งหมายของช่างภาพได้อย่างชัดเจน

 
 

การถือกล้องแบบแนวตั้ง น้ำหนักของกล้องอยู่ที่มือซ้ายเกือบทั้งหมด

 
 

การถ่ายภาพรูปจตุรัส = การกำหนดอัตราส่วนภาพเป็น 1:1

สายตาของคนดูจะถูกทอดนำไปที่กึ่งกลางภาพโดยธรรมชาติ ช่วยเพิ่มความรู้สึกมั่นคงให้กับองค์ประกอบภาพ วิธีการจัดเฟรมแบบนี้เอื้อต่อการสร้างภาพถ่ายที่มีสมดุลที่ดี

 
 

การถือกล้องแนวนอนพร้อมกับตั้งค่าอัตราส่วนภาพเป็น 1:1 พึงระลึกว่า ภาพบนจอ LCD ด้านหลังก็จะแสดงผลตามการตั้งค่าอัตราส่วนภาพ 1:1 ด้วย

 
 

อัตราส่วนภาพคืออะไร?

อัตราส่วนภาพ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างความยาวและความกว้างของภาพ สำหรับฟิล์มขนาด 35 มม. รูปแบบที่ใช้กันส่วนใหญ่คือ “3:2″ แต่บนหน้าจอเมนูของกล้อง EOS M คุณสามารถเปลี่ยนการตั้งค่าอัตราส่วนได้เป็น “4:3″, “16:9″ หรือ “1:1″

 

เลือก “อัตราส่วนภาพ” จากหน้าจอเมนู

 

กล้อง EOS M มีอัตราส่วนภาพ 4 แบบให้คุณเลือก ได้แก่ “3:2″, “4:3″, “16:9″ และ “1:1″

 
 

EOS M กล้องมิเรอร์เลสตัวแรกของ Canon มีสีสันให้เลือกถึง 4 สี (สีดำ สีแดง สีขาว และสีเงิน) ซึ่งคุณสามารถเลือกสีตามที่คุณชอบได้

คลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม

 
 
Yuji Ogura

 

งานด้านถ่ายภาพของ Ogura มีตั้งแต่การถ่ายภาพทั่วไป จนถึงการล้างอัดรูปภาพและการพิมพ์ฟิล์ม Ogura เป็นหนึ่งในคณะผู้สอนที่โรงเรียนสอนการถ่ายภาพ Camera Biyori เริ่มงานด้วยการเป็นวิศวกรในห้องแล็บล้างอัดฟิล์ม ต่อมาเขาก็ได้สร้างห้องแล็บของเขาเอง ชื่อ “mogu camera” และยังดำเนินการสตูดิโอพอร์ตเทรต “mogu sun” อีกด้วย

 
Camera Biyori

 

Camera Biyori เป็นนิตยสารภาพถ่ายของญี่ปุ่น ซึ่งนำเสนอภาพถ่ายที่สวยงามและความสนุกสนานในการใช้กล้องในชีวิตประจำวัน และเพื่อเป็นการแนะนำกิจกรรมสนุกๆ เกี่ยวกับกล้องและการถ่ายภาพ ฝ่ายบรรณาธิการของนิตยสาร Camera Biyori ยังมีโรงเรียนสอนการถ่ายภาพ Camera Biyori ที่จะช่วยแนะนำผู้อ่านให้เข้าร่วมและสนุกสนานกับการถ่ายภาพ

http://www.camerabiyori.com

จัดพิมพ์โดย Daiichi Progress Inc.

 
 
แบ่งปันภาพถ่ายของคุณใน My Canon Story แล้วร่วมลุ้นโอกาสเผยแพร่ผลงานบนโซเชียลมีเดียของเรา