ค้นหาสิ่งที่คุณต้องการ

หรือค้นหาโดย

หัวข้อ

Article
Article

Article

e-Book
e-Book

e-Book

Video
Video

Video

Campaigns
Campaigns

Campaigns

Architecture
กล้องคอมแพค

กล้องคอมแพค

Architecture
DSLRs

DSLRs

Architecture
การถ่ายวีดิโอ

การถ่ายวีดิโอ

Architecture
ภาพดาราศาสตร์

ภาพดาราศาสตร์

Architecture
กล้องมิลเลอร์เลส

กล้องมิลเลอร์เลส

Architecture
ภาพสถาปัตยกรรม

ภาพสถาปัตยกรรม

Architecture
เทคโนโลยีของแคนนอน

เทคโนโลยีของแคนนอน

Architecture
การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

การถ่ายภาพในขณะที่มีแสงน้อย

Architecture
การสัมภาษณ์ช่างภาพ

การสัมภาษณ์ช่างภาพ

Architecture
ภาพวิวทิวทัศน์

ภาพวิวทิวทัศน์

Architecture
การถ่ายภาพมาโคร

การถ่ายภาพมาโคร

Architecture
การถ่ายภาพกีฬา

การถ่ายภาพกีฬา

Architecture
การถ่ายภาพท่องเที่ยว

การถ่ายภาพท่องเที่ยว

Architecture
การถ่ายภาพใต้น้ำ

การถ่ายภาพใต้น้ำ

Architecture
แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

แนวคิดการถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้

Architecture
การถ่ายภาพสตรีท

การถ่ายภาพสตรีท

Architecture
กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

กล้องมิเรอร์เลสแบบฟูลเฟรม

Architecture
เลนส์และอุปกรณ์เสริม

เลนส์และอุปกรณ์เสริม

Architecture
Nature & Wildlife Photography

Nature & Wildlife Photography

Architecture
การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

การถ่ายภาพพอร์ตเทรต

Architecture
การถ่ายภาพกลางคืน

การถ่ายภาพกลางคืน

Architecture
การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

การถ่ายภาพสัตว์เลี้ยง

Architecture
โซลูชั่นการพิมพ์

โซลูชั่นการพิมพ์

Architecture
รีวิวผลิตภัณฑ์

รีวิวผลิตภัณฑ์

Architecture
การถ่ายภาพงานแต่งงาน

การถ่ายภาพงานแต่งงาน

เคล็ดลับและบทเรียน >> เคล็ดลับและบทเรียนทั้งหมด

การถ่ายภาพคลื่น: การถ่ายภาพความเร็วชัตเตอร์ต่ำและนุ่มนวลให้มีสีสันสวยงาม

2017-04-27
4
3.62 k
ในบทความนี้:

ต่อไปนี้คือเคล็ดลับบางประการสำหรับการถ่ายภาพคลื่นในแนวศิลป์ เพื่อถ่ายทอดสีสันอันสวยงามและการเคลื่อนไหวที่นุ่มนวลของคลื่นลมเบาๆ ในช่วงเวลาทองยามอาทิตย์ใกล้ลับขอบฟ้า (เรื่องโดย: Minefuyu Yamashita)

EOS 5D Mark II/ EF24-70mm f/2.8L USM/ FL: 70 มม./ Aperture-priority AE (f/6.3, 0.4 วินาที, EV-0.3)/ ISO 200/ WB: อัตโนมัติ

การแพนกล้องไปที่คลื่นลูกเล็กๆ ท่ามกลางแสงอันนุ่มนวลยามพระอาทิตย์ตกดิน ช่วยให้ผมสามารถดึงเอาสีสันที่ละเอียดอ่อนและการเคลื่อนไหวอันอ่อนโยนออกมาซึ่งเราไม่สามารถเห็นด้วยตาเปล่าได้

 

เคล็ดลับ 1: ถ่ายแพนไปที่คลื่นด้วยความเร็วชัตเตอร์ 0.4 วินาที

เมื่อใช้เทคนิคการแพนกล้องเพื่อถ่ายภาพคลื่น คุณจะได้เอฟเฟ็กต์ที่จับและรักษาโฟกัสไว้ที่ ‘รูปทรงหลัก’ ของคลื่น พร้อมกับสะท้อนความเคลื่อนไหวในภาพไปพร้อมกัน จากนั้น ตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์ตามความเร็วของคลื่นที่ซัดไปมา และตามความมุ่งหมายที่คุณต้องการสื่อ เช่น ต้องการให้คลื่นดูมีพลัง หรือนุ่มนวลและลื่นไหล ในตัวอย่างภาพนี้ ผมเลือกสื่อถึงความนุ่มนวลลื่นไหล โดยตั้งใจกำหนดความเร็วชัตเตอร์ที่ 0.4 วินาที เพื่อเน้นการเคลื่อนไหวของเกลียวคลื่นที่นุ่มนวล

EOS 5D Mark II/ EF70-200mm f/2.8L IS USM/ FL: 200 มม./ Aperture-priority AE (f/4, 1/10 วินาที, EV±0)/ ISO 100/ WB: อัตโนมัติ

ถ่ายภาพโดยไม่แพนกล้อง
หากคุณถ่ายภาพด้วยความเร็วชัตเตอร์ต่ำโดยไม่แพนกล้อง ส่วนต่างๆ ในภาพถ่ายที่หยุดการเคลื่อนไหวจะยังเก็บรักษารายละเอียดไว้มากพอสมควร ซึ่งทำให้คลื่นดูขรุขระมากขึ้น

 

เคล็ดลับ 2: ถ่ายภาพในช่วงเวลาทองคือในช่วง 20 นาทีหลังพระอาทิตย์ตกดิน

ผมถ่ายภาพหลังจากที่พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้วประมาณ 20 นาทีในยามที่ท้องฟ้าเป็นสีม่วงอมแดง การแพนกล้องส่งผลให้เกิดการผสมผสานของสีสองสีคือ สีแดงจากดวงอาทิตย์และสีฟ้าครามจากท้องฟ้าที่สะท้อนลงบนคลื่น ซึ่งมีลักษณะละเอียดอ่อนราวกับเส้นด้ายสีม่วงอ่อนที่ถูกถักทอขึ้น สำหรับภาพนี้ หัวใจสำคัญอยู่ที่สีสันในภาพ ผมติดตามความเคลื่อนไหวของคลื่นอย่างใกล้ชิด พร้อมกับจับตาดูช่วงเวลาสำคัญที่จะปรากฏสีสันที่ลงตัวที่สุด

สำหรับวิธีอื่นในการถ่ายภาพคลื่น โปรดดูที่บทความนี้:
คู่มือตามขั้นตอนสำหรับการถ่ายภาพคลื่นที่สาดกระเซ็นด้วยการตั้งค่าความเร็วชัตเตอร์สูง

 

รับข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับการถ่ายภาพ รวมถึงเคล็ดลับและกลเม็ดต่างๆ ได้โดย ลงทะเบียนกับเรา!

 

เกี่ยวกับผู้เขียน

Digital Camera Magazine

นิตยสารรายเดือนที่เชื่อว่าความสุขของการถ่ายภาพจะยิ่งเพิ่มขึ้น เมื่อผู้ถ่ายภาพได้เรียนรู้เกี่ยวกับฟังก์ชั่นต่างๆ ของกล้องมากยิ่งขึ้น นิตยสารเล่มนี้เผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับกล้องรุ่นใหม่ๆ รวมถึงคุณสมบัติของกล้องและนำเสนอเทคนิคการถ่ายภาพอย่างหลากหลาย
จัดพิมพ์โดย Impress Corporation

Minefuyu Yamashita

เกิดที่จังหวัดไอชิในปี 1979 หลังจากสั่งสมประสบการณ์ในงานด้านต่างๆ เช่น การออกแบบภายในและกราฟิกดีไซน์แล้ว Yamashita ได้ผันตัวมาเป็นช่างภาพอิสระในปี 2011 ผลงานของเขาได้ถูกนำไปพิมพ์ในปฏิทินมากมาย

http://www.minefuyu-yamashita.com

แบ่งปันภาพถ่ายของคุณใน My Canon Story แล้วร่วมลุ้นโอกาสเผยแพร่ผลงานบนโซเชียลมีเดียของเรา