จุดโฟกัส: การตั้งค่ารูรับแสงสำหรับฉากต่างๆ
ค่ารูรับแสง (หรือค่า f) น่าจะเป็นค่าแรกๆ ที่ช่างภาพมือใหม่ส่วนใหญ่เรียนรู้ที่จะเปลี่ยนเมื่อใช้โหมด Aperture-priority AE หรือแม้แต่โหมดแมนนวลหลังจากใช้โหมด Program จน “คล่อง” แล้ว คุณควรตั้งค่าใดสำหรับฉากแต่ละแบบ และค่านั้นๆ จะเปลี่ยนภาพถ่ายของคุณไปอย่างไร หาคำตอบได้จากบทความเหล่านี้
บทความ
-
1
เทคนิคเกี่ยวกับการตั้งค่าตามขนาดรูรับแสง 1: ความสัมพันธ์ระหว่างรูรับแสงของเลนส์และโบเก้
มาดูวิธีการสร้างเอฟเฟ็กต์แบ็คกราวด์เบลออันสวยงามที่คุณเองก็ทำได้เช่นกัน
-
2
เทคนิคเกี่ยวกับการตั้งค่าตามขนาดรูรับแสง 2: สร้างโบเก้ในส่วนแบ็คกราวด์ให้กับภาพถ่ายครอบครัวที่แสนอบอุ่นและเป็นมิตร
โบเก้ในส่วนแบ็คกราวด์สามารถเปลี่ยนรูปลักษณ์ภาพถ่ายครอบครัวของคุณได้อย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้
-
3
ความมหัศจรรย์ของ f/2.2 ในการถ่ายภาพหุ่นนิ่ง (Still-life)
เรียนรู้เกี่ยวกับค่า f ค่าหนึ่งที่นิยมใช้กันทั่วไปเพื่อให้ได้ระดับการเบลอที่เหมาะกับการถ่ายภาพหุ่นนิ่ง
-
4
f/2.8: เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการจับภาพสีหน้า
มาดูกันว่าทำไม f/2.8 จึงเป็นค่า f ที่ใครๆ นิยมใช้สำหรับภาพพอร์ตเทรตแบบโคลสอัพ โดยเฉพาะภาพที่ถ่ายจากมุมเฉียง
-
5
f/4: สำหรับถ่ายภาพพอร์ตเทรตให้เห็นรายละเอียดสิ่งที่อยู่โดยรอบ
มาหาคำตอบกันว่า ทำไมคุณจึงควรลองใช้ค่า f/4 เพื่อถ่ายภาพพอร์ตเทรตระหว่างท่องเที่ยวและภาพพอร์ตเทรตประเภทอื่นๆ ซึ่งการเก็บรายละเอียดบริบทแวดล้อมมีความสำคัญไม่แพ้กัน
-
6
f/5.6: ค่ารูรับแสงที่มีประโยชน์ในการถ่ายภาพแนวสตรีท
f/5.6 เป็นค่า f สารพัดประโยชน์ที่ช่วยให้คุณถ่ายภาพฉากหลากหลายแบบได้อย่างคมชัด จึงเหมาะสำหรับการถ่ายภาพแนวสตรีท
-
7
f/8: การถ่ายทอดรายละเอียดของอาคารและโครงสร้างต่างๆ
หากคุณต้องการถ่ายทอดรายละเอียดของอาคารและสิ่งปลูกสร้างทางสถาปัตยกรรมต่างๆ จากอีกฟากหนึ่งของถนน ต่อไปนี้คือเหตุผลที่ทำให้ค่า f/8 เป็นตัวเลือกที่ยอดเยี่ยม
-
8
f/11: ค่ารูรับแสงที่เหมาะกับการถ่ายภาพทิวทัศน์ธรรมชาติให้ดูคมชัดและมีระยะชัดลึก
มาดูกันว่าทำไมช่างภาพมืออาชีพจึงแนะนำให้ใช้ f/11 ในการเก็บภาพรายละเอียดของทิวทัศน์อันกว้างใหญ่ไพศาล
-
9
f/16: ถ่ายภาพทิวทัศน์ให้คมชัดตั้งแต่ส่วนโฟร์กราวด์จนถึงแบ็คกราวด์
มาดูกันว่าทำไม f/16 จึงเป็นค่ามหัศจรรย์ที่ใช้ถ่ายภาพให้มีโฟกัสชัดลึกได้เมื่อคุณอยู่ใกล้ตัวแบบในส่วนโฟร์กราวด์และมีฉากสวยงามซึ่งอยู่ไกลออกไปเป็นแบ็คกราวด์